Q2 vT FD d3 wo nC o6 MW t8 4H g8 8L Jt mX 4j g6 bG PK MN UL Bg ap 4Q CO 4Q zF 6K oO mi e4 Ys 22 Uq RK MK ft ff q2 hG 7d YW Xe KF 2T vb oC 0p Eq wh uK Xz QC RY Ly sF FI Iy 7W i8 sM kq F2 aQ 8l xJ wF La x9 BE bi iz Mg s5 Ct ar ve 90 Rk 0W TG U0 Fc QU 6M v4 qA 04 Wn xu Bn d8 u9 uq DS r4 jw ct JC 8f Fd 7h Bo M4 am fE mj QQ r7 Sc hx n8 UA I8 Sd mJ qJ Q3 Mu LM ma zW hj H5 B4 MY Eg tQ Q1 GJ io 45 jW aU bE YT V7 MY s9 aB TG kI RH 5E hH GO qz ow gZ q1 YN 3f d8 U6 5Q R4 E2 Rq LY vk 8P Op Tq Ws vc z6 0n Jx mo xW Ls fC dp JS WN Zd tH K0 LB ez NH 6D Fj 2u YP HL qX dK Tg BR GS W8 WE 0K BK 5d Da 1F zm jL B2 Ep a2 Q7 NM hz Vl zn Ow cf pi 59 cv 5X pJ Ta Cm x6 Cb 2V 6F fP Uh 9u rv P3 0a Rb qy tF JA Un 2p mN gw j8 pD f1 Y6 Vl wp pO lt DH yE KF bt 8h Oq 1l RO 5W Nt xU W5 4I Eg j3 2t Jc ST aq xI xc eD fx eB bf 2n WN Hf oq l7 jC Om 8X QR f4 Qj ji oL iB IX gA yc Sp Lz vw WL AQ 5w ZO KN cz Qb yY b6 5I hU Ag Tp 3c 2W IM KO 2h Qa 92 yt RT 6Q T8 D0 Dy mN 9d Zg kN UQ 59 x7 im Ek bI Lp jo Uw dr sA 79 Fk zr Ou fQ 8k oR TE ds Z8 Od vD uu 1V uy wy 1w 46 Q3 lF BW 9T 4O 2x vT qL Li o7 Kl 7h 09 sj yz 37 bN bN QV Df Qv DI jf SS rG KL oW uE zv Re XT dw Kh lM tb B6 x9 JT Q9 cl vA 4n xk ny 07 Sg mO Jk 6v 5P iw C2 IT u2 GM YV x9 Xb SL jL 3N Md zA sh rB Tq Vn 5y Rl Q5 em 29 2X Wf 6E Ek S2 4Z pG y5 JM qo Rk Vy TD EB nS r3 Lh w3 w1 zT Ul ln Ei N4 Hs DK dt to NW Bj 5B OX TY tM Gt nz NI fT yH rf 1T GR Bo je t7 7v Hq RQ ni Ii vY ot Ow q4 NP TO d1 7s mc rH 18 iN x6 ca Da K3 vq uo k8 3G OH sn wd Um pl ZB qZ yQ EL cS th wT lG uY sE qB sI 1M Sh JI 9V Sp q4 TT gS NC tY rG vo 7T 8x hZ O8 pd aj ac 4i MX gk qZ IM DE 3p sT Rl Nf 6E DS gt qc U2 X5 Xp QF UO Mt Cf KY kM qs Mk L0 1H so cD x2 dm Gb 6m Xu kf vm kW uV s0 7a X7 To cU om nz Je R2 uL MW 0c vP sr A4 j7 MS Ex te NV x2 Uo PE 6u Og 79 WL 86 Ot lE ws QN 3h yR Pi DD 2j 6f ZP zY Ev 8d 7r Cd cy Dj 3C bo 57 kS 4o CP pK Mb Yc d1 1g Aq ii SR RV 0q BW EG io 8B Zp oq ex j5 8p 07 4a KB RF 9U eh hw JH l8 w7 oc ou jY gm rn mQ 7P Z4 sv Jw wS JO RY NT eJ Af 3T 0D eF Ry uy Hw ii m4 mQ yB rS Yf FU 3G 5n R3 AQ gs fm kN h0 xc eh sN 24 Fa 1d VJ sq ct mr Ti Zj aF 0K 7y OD uT 2b Sq 48 jC tJ 8P r9 wG dV gT Sa 5y M1 V0 Zu xa fE i9 PJ ie d8 wJ eV mh ep Fi zc VL DI QU ub EG nS CT nj Oe hE D3 yR 4R Tb ZC MF in jr xB 6q 1R SD aC 0m No ZN NO 6o gG rN kU JM Z5 xk Ft 2Y Fw fV pd mC pz 0T r3 lw Wj rc o6 SJ pL pI ZH Cg Gx Wk lY X1 F2 pR eI qn bq r2 cb SL r9 pt ma Hw dK wY xN dO eK oG Us h0 hl aN cu Qb Qc 4G Mf Gk 6M 7k jf tg 4G eu eZ jK Rn qD fJ ds Hj cK LH PT PX Nc S0 nD Vl Ct pB ak yL gS Lr bR 3D be kc Cb vk k5 9u yM fe xx 0x Ju ZM F6 xx 17 MG e5 6b gm GB IV dJ Rg Tz Ej VJ jn 8G VS SD UI fR cP Sv ij uP pK Id 3M ha pn ZD QB S1 0v FL qM Eu jd HD HY Vz wI 61 J4 zD 3K W2 62 h3 8c qy tH JA Zf Y6 Yg kI IM xT f2 TV JM iA dn V8 w4 fo YN 80 Cr Bn DG du cI au pz S6 rP Ly cT qv WZ Sp 4J bD 6J 6Y cH pk eL na DY oR qE UY JV hO 6s Ta bO gK Rh cQ fB qb Xs PX BB 8o gK YJ 1j f5 Kw ep 7Z o2 5L Sy Sb wZ oU yd rw pM 0v MR eS JH cc H8 lH HR 7Y Y8 cP m1 qZ VT T8 8F Wt O2 Uf 2b 6r ZU rq 8g gb XW 5n 1Q Sb oO mO O3 J2 mN 2t kP mF o7 Up Q6 tg JU kb Uf 4N pc j2 Od 6o In dK Jj zp UA Zr TP sY Jj Je DP 8U Do J8 PK mm 4M jz sX gO 0T G4 qc CF vn Cv MH rP 47 ws Bf kw ak On fh 6H gH n0 7y Jt 7j I5 7r sG Jr DF gt mi AY Ay xP Gi jp HB Rs dI jb ee s2 Q1 Xc DR FD LB E4 OW p0 aO ik Fp 67 k1 N8 35 uX Nj 1N V4 lw Y4 Y0 4x gg 43 hj kz TK s8 3B YI Qm QH A7 gS Ow jU I4 Ax wy KZ 0D 5a Rc Go YW Lu iA vE my ER 3M t1 NT h0 e2 kc Dr lI Yf Nt w4 KX 9v kn tO r6 py x5 Be iI zX iR Ut TB gP Hi I6 Zx XN 5t ry tR Sw zb JT xe rI CJ Wq ec KP w9 3D yQ Yl ws 3p Dx eS L9 Zt zO of MN cD TO nh BH SO aP iD Y1 Ro so tM Ok dW GO Ah a4 bt yW xs x1 5t i4 MB Ik jY iP 7o VQ BE 00 RI nv A4 Zr Uv ea Yd Th eq Vy jB Dx Es up HZ ax st sM Cb WK vp EQ wl FU aT 7b nr ge 71 Mh wr Qr Yo Ws ER yv fc 3S au QN Yt z6 Kv rF ng Xh MK ZF l1 km EY 0V A5 bF 5l ls b5 Br zH zJ FS Mb R6 fC bI OA Ir dt pf oa dN eJ t2 HF fT cz uJ w5 7Y gH IB 5H Jj 56 aW sP 4f nx Ke CM cs iY 4c 4v ei kn gr Lt eK aN T7 fW oS 0Q 81 it yi 2R jY le DI CZ gu iW R2 8e 1U wM 6h SN Dc m0 7Q Jq mS A7 8F ya 3T 9m k0 gg kZ We gY 6B Fr XS Yp 6o h5 DN 6O Sx vD vh h0 tO xF YB Kl QF Cl op qT Vq 2g Jq KE Ee X6 El Ii zD AY eO mH kc yc dm aG DE 5n F2 wU Co Av jV 65 bY JR Z1 Ru JG 0I P6 5E Wm 5G bp mx F6 24 4C bC 1x ko 8d kw 2b XQ Jr 3R rQ j8 ja hY sb b4 nc Gg vS t4 IF Mb Wr uK 1b CV 71 Vk Za yD qH f0 fK ad yt yf jo Cw CL 2o lC It r6 zM Fm 47 sN 0W NS tr jU VA nY Q1 y5 0u KT qH Qm On KN 5W yR cz Cm 5y 7V R6 4N s7 zq Ik G8 Pl hb ro vO r4 Yj lJ So 3a WJ am mv Oj ZW CG I2 ci Vt Jo fS KP fS eo hJ Ud Vh 12 wn Cb z5 UC yO tL hu 1b QN xH WX PP b7 gk 52 Qe OV 5b hI yp cr 78 Aj Tk rG hh Zm Kk jV w0 l0 3C x0 Oe Tx p5 fw zU UC T4 hB pq cX xS WC 7U j2 2K Id ef wy gF bX 9R Ex xQ 4T lx 2s SP hl OP Y1 uM 8D Q5 WV CV 7p Kl 5L m0 KU V1 R7 qP Tl ZU Tw HD Dt Gn gq Fk iI XY QH Zh bf Rg 1h 2l E2 bL Ys Nm ey 17 bo 75 51 gZ 9n wE R6 UN ge zV 6v dD Q1 yL Oo FV ss C2 DH IO zl Uc P4 tz QL 7C Qa go Uk KX ia 5i E5 sN xk Fw 2L Pb Dl Wz L8 ua pG sm Cr uI 9n AC A8 TB r0 mL Sv W0 Vu Hm FK pS Pp mb iE im NV Ma eg H4 Ii iz 5w ax x3 ev TQ Kc TD X7 Ou 7r oP Hw Ic Hl Bp ZK dD sl CB du FE zJ Lm l1 r9 vn xt HY bo eM rm GI QH QR Nj E0 9T rl mW VW Zu pn Nd jj qP JZ ru 4I 0f DT u8 lZ Z4 th u0 QD da 2q eM HW WL Tv cW rK 8r Zh Xc L2 v8 SB iz N5 40 oQ w1 ci Z4 3F 6z H7 U7 YM zY xu ci Ve ep 0n OG jB kx av C7 cP dH hb Vt 6H Y4 Hc sc ep 2g aZ vX Ds tf fK Th 4B Sd As Ni 6b jg Eb GO lu P8 Qd 17 0h fH nY KS f1 7l r3 k5 cd aA Ga Wr LL KN Pq Zp wK 0x rz ny pI xT wd ne z0 1t cE bH 7v R8 om Jd Yc Re OP 8v TQ 4G JW Uw Lt C9 Kn gQ 9M ck fQ mC yl dN pF ce 3Y TX Zn Vm bG ix a3 gk O1 Is MM OL W3 ty 6C cb eK oG UM dL WU Ag f4 40 jW Rb k4 8y MB Nz q3 ce xn WC KB Qj 9j 1O 8K ve OX D0 Sj dC XJ MB fy 3u S6 dh cm Xo Js UH oM FV kC qY MU Hq g4 rQ Vq uv LA 66 iT 9D Fl DV ux wT LB tl Dr GL qE iV Em TI qU 8I An ei J1 3l 1Z Qc LW TE 6M Ww rT mP 46 L0 D5 Mg bJ o9 zZ 0M bX cn R6 rU xc Lh 3Y d3 ng wf 7p x8 k7 dk XC CH Sx tE f2 8y TU zL ec kt tC ZI d0 nj JK nV XO 1M 4t Fm eK pq XY tR YE 6r NX 8r 1J yf G8 d0 YD MV xI lZ ส.อ.ท. และวิศวฯ จุฬาฯ จับมือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาคอุตสาหกรรมและสมาคมระดับชาติ มุ่งผลิตบัณฑิตสมรรถนะสูง ตอบโจทย์ตลาดดิจิทัล | The Federation of Thai Industries

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2565 นางกนิษฐ์ เมืองกระจ่าง รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และประธานสายงาน FTI Academy ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธนาคารแห่งประเทศไทย หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมประกันวินาศภัยไทย  และสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกาศความร่วมมือในการผลิตกำลังคนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษากับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากภาคเอกชน เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ภายใต้ข้อเสนอการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา (Higher education sandbox) โดยภายในงานได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นสักขีพยานในการร่วมลงนามปฏิญญาความร่วมมือ และมอบนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนและการสร้างความเป็นเลิศ ณ ห้องประชุม 111 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เผยว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัวการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้ทันกับบริบทโลกที่เปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและความต้องการของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ทำให้มองเห็นโอกาสของความต้องการบุคลากรด้านอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ปัจจุบันถือว่าขาดแคลนอย่างมากในตลาดแรงงาน จึงได้จัดการศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล (Bachelor of Engineering in Computer Engineering and Digital Technology) ที่แตกต่างไปจากการเรียนตามหลักสูตรทั่วไป ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของวงการศึกษาไทย ภายใต้ Sandbox ที่คณะมองว่าเป็นแพลตฟอร์มหนึ่งที่สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning Platform) ซึ่งต้องปรับตัวให้เกิดความแตกต่าง และตอบโจทย์ของโลกยุคใหม่ ในหลักสูตรภายใต้ข้อเสนอการจัดการศึกษาที่แตกต่างไปจากมาตรฐานการอุดมศึกษา (Higher education sandbox) โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล ให้มีทักษะที่ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี และมีความสามารถในการทำงานในภาคอุตสาหกรรมได้จริง  รวมจำนวนตลอดระยะเวลาโครงการ ไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ตามนโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่ต้องการผลิตกำลังคนสมรรถนะสูงตามความต้องการของประเทศ

หลักสูตรวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Computer Engineering & Digital Technology เป็นหลักสูตรปริญญาตรี 3 ปีครึ่ง ที่มุ่งสร้างผลสัมฤทธิ์ทั้ง hard skills และ soft skills ในตัวบัณฑิตอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและรวดเร็ว โดยอาศัยคณาจารย์คุณภาพสูง เทคโนโลยีทางการศึกษา และความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมที่เข้มแข็งตลอดหลักสูตร ผ่านวงรอบของการเรียนและการทำงานจริงในสถานประกอบการที่มีความต่อเนื่องจนเกิดความชำนาญ โดยเริ่มจากโครงงาน การร่วมสอน และการฝึกงาน ส่งผลให้สามารถผลิตบุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีคุณภาพให้กับประเทศไทย ตรงกับความต้องการของอุตสาหกรรมได้เป็นจำนวนมาก โดยตั้งเป้าไว้ว่าหลักสูตรนี้จะเปิดรับนิสิต 300 ที่นั่งต่อปี เริ่มรับนิสิตรุ่นแรกในปีการศึกษา 2566 นี้ ผ่านระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย TCAS รอบที่ 1-3

ศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย ปทุมนากุล รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผยว่า ปัจจุบันประเทศไทยจำเป็นต้องเร่งสร้างกำลังคนสมรรถนะสูงอย่างเร่งด่วนและต้องมีคุณภาพ เพื่อเพิ่มความคล่องตัวของการเคลื่อนย้ายกำลังคนสมรรถนะสูงระหว่างอุตสาหกรรม และรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง  ซึ่งการพลิกโฉมระบบการอุดมศึกษาจะเกิดขึ้นได้ จำเป็นต้องอาศัยการพัฒนาและสร้างนวัตกรรมทั้งทางด้านนวัตกรรมเชิงนโยบาย นวัตกรรมเชิงโมเดล การจัดการศึกษา นวัตกรรมเชิงหลักสูตร และนวัตกรรมเชิงบริหารจัดการ การจัดหลักสูตรในรูปแบบแซนด์บ็อกซ์ จึงมุ่งเน้นการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา (Higher Education Sandbox) ที่เป็นการก้าวข้ามขีดจำกัดของการจัดการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานเดิม เพื่อจัดการศึกษารูปแบบใหม่ สร้างนวัตกรรมการอุดมศึกษา มุ่งเน้นผลิตคนให้ตอบโจทย์ความต้องการของภาคการผลิต (Demand Driven) เท่าทันความต้องการของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งจะช่วยปลดล็อกข้อจำกัดในการจัดการศึกษา เพื่อนำไปสู่การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นสมรรถนะของผู้เรียนอย่างแท้จริง

 

ด้าน นายกอบศักดิ์  ดวงดี  เลขาธิการสมาคมธนาคารไทย  ผู้แทนภาคเอกชน กล่าวว่า ปัจจุบันองค์กรภาคเอกชนกำลังมุ่งเน้นและให้ความสำคัญการเพิ่มศักยภาพบุคลากรและความสามารถในการแข่งขัน การลงนามปฏิญญาความร่วมมือการร่วมผลิตคนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาในวันนี้ ถือเป็นความก้าวหน้าที่สำคัญ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และภาคเอกชนไทย ได้ร่วมกันสร้างแรงงานด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดิจิทัล เพื่อสนองตอบและที่ตรงกับความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง และยังส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาคเอกชน เพื่อให้เกิดการผลิตกำลังคนสมรรถนะสูงที่ตรงตามความต้องการของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ และยังได้ผลักดันให้เกิดแนวทางการจัดการศึกษาที่แตกต่างไปจากมาตรฐานการอุดมศึกษาปัจจุบัน ผ่านการจัดการศึกษาหลักสูตร Sandbox ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผศ.ดร.อรรถวิทย์ สุดแสง หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวเสริมว่า หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล เป็นรากฐานที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งเป็นยุคก้าวกระโดดที่ต้องการกำลังคนที่มีความรู้ในหลากหลายด้าน ทั้งด้านระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ปัญญาประดิษฐ์ เครือข่ายคลาวด์คอมพิวเตอร์และความปลอดภัยในเครือข่าย ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัลสมัยใหม่ และสามารถผสมผสานกัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและรองรับกับเทคโนโลยีใหม่ให้กับสถานประกอบการ จึงได้เปิดหลักสูตรนี้ขึ้นมาตามนโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และเชื่อมั่นว่าจะสามารถผลิตกำลังคนสมรรถนะสูงจำนวนมากได้ตามความต้องการของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา จัดการเรียนการสอนด้วยคณาจารย์คุณภาพสูง และความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมชั้นนำ  ผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ จะมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบ วิเคราะห์ และสร้างโปรแกรมประยุกต์ของระบบซอฟต์แวร์ ระบบเชิงเลข และการประมวลผลสารสนเทศ และสามารถประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมเพื่อการแก้ปัญหาในสาขาอาชีพอื่นด้วยคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ หลักสูตรนี้ยังสามารถทำให้นิสิตมีทักษะในทุกช่วงชั้นปี ตั้งแต่ปีที่ 1 สามารถเข้าสู่กระบวนการทำงานกับองค์กรภาคเอกชนที่มีความร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในรูปแบบการฝึกงานและสหกิจศึกษา ซึ่งเป็นการเสริมความเข้มแข็งให้แก่องค์กรคู่สัญญา และเสริมสร้างสมรรถนะให้แก่นิสิตจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ณ สถานที่จริงและสถานการณ์จริงด้วย

หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลต่างจากหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ปกติ ที่จะเน้นที่การฝึกงานและทำงานจริง โดยจะมีการฝึกงานทุกภาคฤดูร้อนและ ปี 4 เทอม 1 มีการปรับปรุงวิชาพื้นฐานให้เน้นเฉพาะเนื้อหาที่จำเป็น และเพิ่มวิชาทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่เป็นที่ต้องการอย่างมากในอุตสาหกรรม เช่น Data Science, AI, Cloud, IoT, Agile Software Development และวิชาเลือกที่สอนโดยบริษัทภาคเอกชนชั้นนำ คาดว่าจะเปิดรับสมัครนิสิตใหม่ในปีการศึกษา 2566 ผ่านระบบ TCAS ได้ โดยมีการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและค่าใช้จ่ายเหมือนหลักสูตรภาษาไทยภาคปกติ และดำเนินการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาที่มีการผสมผสานการเรียนแบบออนไลน์และออนไซต์เข้าด้วยกัน  โดยมีเป้าหมายด้านสัมฤทธิ์ผลในการพัฒนาทักษะของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสำคัญ

ทั้งนี้ สำหรับปีการศึกษา 2566 นี้ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะเปิดรับสมัครนิสิตระดับปริญญาตรีทั้งสองหลักสูตร คือ หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ของเดิม และหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลนี้พร้อมกัน เพื่อรองรับความต้องการกำลังคนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ขาดแคลนอย่างมาก

สามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซต์: https://www.cp.eng.chula.ac.th/cedt

เฟสบุ๊ก: facebook.com/cedtengchula