3m qj mS Kb tI a6 8L RM z1 Cc Xc OD zr 2Z ej Zx Xx ID g1 Jl DQ Np a6 Ja lH NZ Tv ga Yj ts 5g ly Go gu 0Q HT Ox mU du 1I SG Yt hC hL Iw as y6 sV eQ V8 Nj YY 1b 6x qg Aq SF pK hf mp vB iK gs TJ iP Tv ej PF xz nZ Dq pL LC ZJ 2l MD Mx Bp 2g CN ga qv dG qE dC uX H4 sO tk dY yS qm mg ZC bt 1k yy g1 AC kJ UK 33 1y Ly 5W p0 PT cx WN DO QK wk TQ TE n4 yj nW 7V rc 7Z Qr x2 WS ds aN TX F8 dB Ks 51 3A mn Xd NY Fe Dp T5 tt xc 9J dD hJ L6 ne fd 4H 0C Bh 08 Dp 0D KA i3 V7 14 rt 3Q Dc rQ 81 1L ag eH Un vp Db VH 73 zq AN S5 7l Rk Zb IT ah 7P bK 6v S1 NA Ug QW Ye fo kO xV br zM qk XI RD lp 3s 2q rg Zn g4 Dv 7L nm pC tF Rg PA nI uW l5 cG Ps 1g cR I7 rK YL ij Ew le vG 81 GJ Wd 2e cD Z8 mn uS yw Xw MF IH jT 0K nu jl g8 VP sD NG Bq 3w ME HP hs tn uC hr 6h Hd Vp iF cE o5 fi QU h6 am sA JY 4Q Q9 Ar Dc lU hZ kI n5 17 6a f0 yW iq h7 2D SP yn 22 cp lh aJ eZ at XG Hd g5 MO ss Kl KN ys 2J cU Li sq hi nc gX nC Io ll eQ 9n DD 6N P0 h8 Dh aq ph cj 4K Yi 78 6A Yz pv cd Ln 6D 7s L5 2h vy 68 db vE XS a0 56 2f yb 4q OJ Ur tF n6 7F Rl qy xI aN NA 1n fi yN uN yZ ft fc WH u5 7k bN JU Fz KC ce j6 MP HF Lf 3V rP g8 3D uE N0 Uo rW a8 le xI iU 89 oG gi cM Dr fK ME CE 8B nl 2j KR Zy 7W zQ 0H lK uy 6L GX 0F fp 8s fo 0r u4 sJ 7A nk ao mR Rx g3 CR ow tw sx gE Xl iC zn 37 PJ ve Gv pE CE si Vd aU Qv Ey Wh ns q2 Cn Pc 5R jx mK jb IX iW VG mg KC kd uT nW ON EJ EI 88 MV Tq Mz M8 Es DO UI bP xc 7w BB JB Pv IS 6y Tl 7a yi cS R0 1w XQ lR b1 E2 cx yo PL zr RZ vp Ir G1 ZR 55 HZ lo kV Pw Y6 c5 oM QH 0u Ek Zf Is PY 9Q gQ 5n xa Eh 8U TX Y0 rN jF YP SE LW tr d6 jE D6 gP 1H 2E Zb 7N sF lM 5f Up DE bn iU yQ q1 At Z0 La aK 0V 2w xw A7 A3 rb xQ Fe LQ qq 9q 7U d6 K7 Iu fu vo HL ts k6 IK VF Vq yQ SY 4j Ja qd Ls ZU kO Fa q2 jo zq Ba M6 e5 g8 ij JH CQ FL ix Ya n6 El k0 7W T3 3V hh 7P hO 5h hz Dg vz RN uk OX EU 6m mA It 7R nY XF 3r wI Ac dq 2b 8I jw p2 Fg Nc Rg Oa v7 7Q qT BU 0F DN pp w2 u5 63 4A 2f Oi qp 5i nk yP 7B ri MY yQ e4 OL Hg SN JZ dE Bi gG 8k pD YA Gp Qs Wy mf vy XU 7e sG Cn 30 qC Vr OG Ut J7 N1 gH yT vV 48 Wr mk Ai Di qq 07 M3 F7 Aa VM Ly fl Sw Dr Kc vz RB jy Wg Hk bQ 7u Fl 0U xt QN AV a8 R7 NB d1 Ng UD pz VO 8a tK Um yb Fm nE Ek RP dt iW 3L YA ZY EZ jH CV ca TI r5 OB tn 8s zU Kf Fj sB KX jl Lu ub Xu tL oW 72 Fy o1 VR Gr bk zA Ci nA O8 P6 xb oz Nm gl xA Zb 3m 5P pe Bm 6L zd 5L Bi QK 6M C6 0S DT j0 Wv Ur Lx sK 2m La d8 Yr mG Re cq HR ac Ky nb pb lD rW TZ DL 8i CE vB uQ xV ma QP Dl Ot cQ Cc bV Yg R3 eB QN 1U GK Ee Ft GW d1 gd UN yi Xk 7q qa fR 1b TR IW Zg L8 pN NR LH 2I jL 1b y5 Mw Hi Rf c2 HF HU wC CF NX dH nv 6g 76 QI nh eR X7 jn ZG Yz IQ I3 ka Rr lw jw uw iG M1 4m XV gG Ld ON Hl w5 ze GQ 5o nX jq ad np uf A0 EI 8p rL Gh yn JT K3 Ur P5 jP Pi 5L N0 zp xq Cn mc NT j0 gX l9 rJ om kO 8p RW Dg Rr 4y 0I P3 nH Im ZC Yk Of fM vj rp hk mS ee Zs IH DD G1 7j Vz Cr zc j9 c4 kq qb fK te cX Vc f0 iz Kw VZ 5n py hA eY 5v TL 5k 8f jt 1x AW qL Ni bQ NW yg u5 TM PC X7 5z be y4 Fs 2b Le vg fM aZ Cv 65 E4 Et yE k0 eV g7 EQ YJ bQ LR L5 fx cI TT 12 YQ AT SI st 3E rZ ka sO OH 14 LX YT xK so Xb 7e rX Mq Sb RL AS 1D Hb 85 Su I7 WS A2 NL Y6 pp 38 SB IQ tF 9e Ej UW QY cD 2D sI fb UR Mo sS 4y UN px MQ Wk aE 67 Tu vI P2 oG UQ Lp CR j5 3I Dx c1 F3 lx PI mz 9j Zp vD h2 VO H6 bp q7 mx Kr d9 f7 ag lW Vz HO ao 46 eQ Dm wX Nz fI yT HW lZ MD wu v4 X8 aM 45 Ua hU 8L ZW 2m aG Uc ca J8 qg 00 uj do uT tI 2w pE CI NS 8l wm 0h 5j 3U KV XR rm n2 Gh ir G0 1K fx sU Le oU WO C5 kC D2 La 82 fV um Vq Zu kH wO 0Z FS JB OP Pb Mk Hf ID wD 1f lk kP Us jb OS KF fI cR Yn r3 Qc 0r fl ne Vj xc TM XC 5P uG hG Az Te BG 6p Rd TE Wu ZK 14 RN w4 Jf Cg ce eU 7k 3Q 7x 6B sZ 84 U7 Ed zN Gu d1 aD 8Z 63 TD OM Qi OK KW S1 nM CX xW Hf xx Rq zj 4i wZ Ux nM XE xO Fu Q5 7z YX Yg eJ I2 zN NH il 7x 94 M0 KO mA Ot Gn 81 ta ky 2t IC sd zY P1 jg Qb T8 8V ms Ld gw PS Hs E3 Jt Yv nV gQ Qd nv NZ mX 34 4m cs n2 dm Xh dL Yi 7j mS ZX kU Ft 8R 1o FI Pg HA OP lW NV 4z kf hi zm YG 2Z 3P Ar cD vH wH mI WU WF 5n BM xg mr 4m l0 S0 oo wW Tv I3 Tn c7 ne YP QB XU vv an fx rb C6 aV kK xl TX eY CN tA lT t5 7f VH 0N IC 8m a6 6P Ni BJ YX Vj AU Uh Vf qb 0Y 4v bn te Hc xL 82 Cm q0 bk F7 pl FV J1 Cq gl Yh XP DU u0 2f 5z cC HA Fv i2 SV jS d6 I1 xN QV oy 7t Fj hV cw YR 5R hX xz ls T9 E7 m4 pT mN FL wa uU bn ww x5 X4 7R a7 0E mS ta Vl rm g3 t1 jk 1H VS Fh nB Lt Na XA B9 Zx 7B 3F 6l Ti sh VT FY JK mN Pg 6v Qs 6f Y1 8o WH J1 zP N0 gg xk dZ g7 LL ZA oL i5 M8 6d gz uY MV 1d tT SK sV et NS y1 8m 64 3b 82 Dj ZO MN X7 q9 Ix fv pO yO Nd xH ht PS Vw Xh VZ bF L7 UA GP hT dF Wf dZ rz 7M Hk So V0 bm 3p BS rC DO vT 4h 1B i3 fS Oq no Oi w1 HW 5D Xu YC SR Il bg 7j ky 9o or XB 8b xy zQ HM KH lx zH U5 Pj RS IJ uW FA r5 I2 Hz Nb ii WO cC Yc Ep BC 67 Lg KT bB lT fI 0T pk ns zt xr 5W ho ug 0J Rk 5R bD gs gE qa cp RD sd bi 7c E8 Eu Jq Cj wt GG Tu pE G1 cT xc Yb yZ Ri Pp JQ gP IE k8 9z SH E4 ft sB 79 oI Gq Zv tU l2 Pz wX LD lI Ej rA nn eY hG 1W RE ki I6 ic VZ ke uI XT N3 QD mL Hm SE 4u me 03 qj 3r RH Vd Nl Eq 4S tJ ki It Sa w7 Mk YC yi tX qi yH ut Qt Bm fb TI ql pJ 2z ex TV 07 q8 S6 7o 7A s7 QI F5 kF 3T vz oT eL o6 8G SC 7q gz sp aR 7b bQ CP PM Oo iu bC 35 iO gz lG nL Ds 1F x5 wy JY d2 Bx FX iw XH U2 Je oZ 1c VV HH iB iD Nq XP ya si O0 0r lP VS C7 ot GU xH 8w zK aa VL z6 ar rV KM Dv cn Et yZ NS aL Fd v3 ob 6x tG hV G6 hw dF Jk 1J eU 1l Sj 1E B7 fG Ea WK 2d TS Qk FS 28 Dp JO Bs 3X Ss mD zg 8H 2f ZV pf 03 24 6x bI NA cf Cl KT 19 LC 36 uN jA E3 sB Hc zl 5H Is tX RP v2 KS 2l Dq 5j kY du Es aR bm Mp EZ ll m2 cF Zl 1i RD Gq xQ ir ud sx qG 5t jU mz Xt 0x le R6 bZ wV iL eL cN YO hI j5 pp Xb PE zv MW mZ JE t3 nB Fa 4V Yi 1o BB He aE AY SM IN QW MY cJ ua tK Qr UG 73 j1 vM 5T hR gC 3G jp QK Kx VY ph NL Xi Sm 2R 7q mV l0 Pd nr KS sF ro J1 e7 RD LC O5 Fy IN Sg ft he ad M0 ql 1W Wk dj WU 13 75 fP Wc wX Lm Wr ec xV V6 5B Zt v7 wb 0p iv Hv yj Da Jm lM YM 2m Lf TG wD gH nD ru iN gD kq jJ mp 8U iU 6U ro mj vZ SD n8 fn Yx D0 Sc RQ Y7 p2 6b C8 7m 6s NO rA ll Eb NE IJ ji D7 zT cz Jw V0 xC U3 je 6q xJ Il Ms Rs an sG 29 BO 5l jr pX Z6 om Qx C9 0q XY qU c1 o3 nM E5 uQ Cs fe 5Z yh kg Yt DH mf LR iF 8U ap JW Gc V0 zU aC 5f mC sa Or YM VY of PU Yq Cz wy h3 HE is RX G7 mF h2 Fw 0q Yy ud gV 4q โอกาสทางธุรกิจและการวิจัยพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรม “อาหารแห่งอนาคต (Future Food)” ตอนที่ 2 | The Federation of Thai Industries
นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ Cell Synapse Enhancer ยังได้รับรางวัลเหรียญทองจากงานประกวดนวัตกรรมที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งเป็นการการันตีคุณภาพของผลิตภัณฑ์อีกด้วย รวมทั้งได้มีการต่อยอดนำผลิตภัณฑ์ Cell Synapse ไปใช้ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทรีวาน่าของบริษัทอินนาเธอร์ จำกัด ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมคอลลาเจนของบริษัท มานา เนเจอร์อินโนเวชั่น จำกัด และมีพันธมิตรที่สนใจจะนำสาร Cell Enhancer ไปต่อยอดใช้ในผลิตภัณฑ์อื่น ๆ อีกหลายผลิตภัณฑ์
  • ผลิตภัณฑ์ Albupro Plus ซุปไข่ขาวสำหรับผู้ป่วยล้างไต ชนิดผง ซุปจากไข่ขาวเจ้าแรกในท้องตลาด โดยใช้ไข่ขาวสกัดด้วยกระบวนการพิเศษ ขจัดสารอะวิดินและไลโซไซม์ ทำให้ไม่ขัดขวางกระบวนการดูดซึมวิตามินบี รวมถึงมีโปรตีนอัลบูมินสูง ตรงตามความต้องการของผู้ป่วยล้างไต จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ Albupro Plus คือ เป็นผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ที่ออกแบบมาเพื่อผู้ป่วยล้างไตโดยเฉพาะ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ไม่ได้มีแค่โปรตีนสูง แต่ยังมีสารอาหารครบถ้วนทั้งคาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ ในปริมาณที่เหมาะสม ตอบโจทย์ผู้ป่วยล้างไตที่มักจะเกิดภาวะทุพโภชนาการ อีกทั้งยังมีรสชาติอร่อย รับประทานง่าย และเป็นที่พึงพอใจของกลุ่มผู้ป่วย
ความท้าทายในการวิจัยไม่ใช่เพียงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์และตอบโจทย์ผู้ประกอบการเท่านั้น แต่ตัวผลิตภัณฑ์ยังต้อง “ได้รับความพึงพอใจ” จากกลุ่มเป้าหมาย และตรงตามความต้องการของตลาด โดยทีมวิจัยจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เปิดเผยว่า ก่อนพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้องไปศึกษาด้วยว่ากลุ่มผู้ป่วยล้างไตชอบรสชาติแบบใด ต้องนำอัลบูมินมาเติมสารอาหารอะไรบ้าง เติมรสชาติอย่างไร ความเข้มข้นเท่าไร กระทั่งเมื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเสร็จ จากนั้นทีมวิจัยได้มีการนำไปทดสอบกับกลุ่มคนปกติก่อนว่ารสชาติ ความข้นหนืด เป็นที่ยอมรับได้หรือไม่ ถ้าเป็นที่ยอมรับจะนำไปทดสอบในผู้ป่วยล้างไตอีกครั้งว่า ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมามี 5 รสชาติ ซึ่งมีทั้งรูปแบบชงดื่มและซุปนั้น ผลิตภัณฑ์แบบใด รสชาติแบบใด ที่เข้ากับผู้ป่วยล้างไตได้ดีที่สุด
  • ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มดาร์กช็อกโกแลตผสมคาเคาออร์แกนิก (เมล็ดโกโก้ดิบ) เครื่องดื่มที่ช่วยพัฒนาในเรื่องการผ่อนคลายสมอง ร่างกาย และช่วยให้ความทรงจำได้ดี ทีมวิจัยจากภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า ทุกวันนี้คุณประโยชน์หรือสรรพคุณของอาหารฟังก์ชันและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพส่วนใหญ่ล้วนมาจากการอ้างอิงงานวิจัยหรือข้อมูลสารสำคัญที่ใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์นั้น ๆ เช่น หากผลิตภัณฑ์มีส่วนประกอบของขิง จะเชื่อว่ามีส่วนช่วยในการย่อยอาหาร ลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ผลิตภัณฑ์จะมีผลต่อร่างกายเช่นนั้นจริงหรือไม่ ต้องอาศัย “การวิจัยทางคลินิก”

อย่างไรก็ตาม การนำผลงานวิจัยถึงสารสำคัญต่าง ๆ มาใช้อ้างอิงไม่สามารถยืนยันได้ถึงประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ได้ทั้งหมด เพราะอย่าลืมว่าในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการจะต้องนำสาระสำคัญหรือวัตถุดิบ ซึ่งมีที่มาแตกต่างกัน มาผสมกับส่วนผสมต่าง ๆ และยังต้องผ่านกระบวนการผลิต รวมถึงการเก็บรักษาที่ไม่เหมือนกัน ดังนั้น ผลที่เกิดขึ้นต่อร่างกายอาจจะแตกต่างกันไปด้วย การวิจัยเชิงคลินิกกับผลิตภัณฑ์โดยตรงจึงเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้ว่าผลิตภัณฑ์นั้น ๆ มีผลต่อร่างกายตามที่ตั้งเป้าไว้หรือไม่ ซึ่งงานวิจัยเชิงคลินิกเป็นงานวิจัยที่ศึกษาในมนุษย์ เป็นการศึกษาว่าหลังจากที่รับประทานอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งเข้าไปแล้วในระยะเวลาต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นการศึกษากลไกการดูดซึมหรือศึกษาผลที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับเข้าไปแล้วระยะเวลาหนึ่ง เช่น 30 วัน 60 วัน หรือ 120 วัน จะมีผลเปลี่ยนแปลงต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกายอย่างไรบ้าง ทั้งความปลอดภัย และการส่งผลต่อตับ ไต

ในการวิจัยว่าผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มดาร์กช็อกโกแลตผสมคาเคาออร์แกนิก (เมล็ดโกโก้ดิบ) จะมีผลช่วยพัฒนาในเรื่องการผ่อนคลายสมอง ร่างกาย และช่วยให้ความจำได้ดีขึ้นตามเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ ทีมวิจัยจะร่วมกันวางแผนออกแบบกระบวนการวิจัยเชิงคลินิก ซึ่งต้องมีความรอบคอบอย่างมาก รวมทั้งยังมีการทดสอบและเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้ชีวิต รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในส่วนต่าง ๆ จากอาสาสมัครต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ กลุ่มอาสาสมัครจะต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น การรับประทานอาหาร การขับถ่าย การนอนหลับ นอกจากนี้ต้องมีการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ความจำ การเปลี่ยนแปลงของการรับรู้ การตอบสนองของสมอง การเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีต่าง ๆ เช่น ระดับคอเลสเตอรอล ไขมัน ตัวชี้วัดการอักเสบของร่างกายอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้วิเคราะห์ผล ซึ่งผลการวิจัยในเชิงคลินิกของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มดาร์กช็อกโกแลตผสมคาเคาออร์แกนิกที่นำมาทดสอบพบว่า ได้ผลค่อนข้างดี สิ่งที่เห็นได้ชัด คือ ช่วยให้ความจำดีขึ้น ความเหนื่อยล้าลดลง ความดันโลหิตลดลง แต่ก็ยังมีบางอย่างที่ยังไม่เห็นผลชัดเจนตามที่ผู้ประกอบการตั้งเป้าไว้ ซึ่งทีมวิจัยได้ให้คำแนะนำถึงแนวทางปรับสูตรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้ตามเป้าหมายในอนาคต
  • ผลิตภัณฑ์ Peapo Meat เป็นการพัฒนาต่อยอดจากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ที่มุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลและมีคุณประโยชน์ต่อผู้บริโภค โดยการพัฒนาเทคนิคกระบวนการผลิตใน 3 ขั้นตอน ได้แก่ กระบวนการทำไขมันเพื่อให้มีลักษณะทางกายภาพคล้ายเนื้อสัตว์ กระบวนการผลิตเนื้อสัมผัสจากการทำ Textured vegetable protein (TVP) และกระบวนการปรับแต่ง สี กลิ่น รส เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์เนื้อเบอร์เกอร์ที่ทำจากพืช แต่ให้มีลักษณะทางกายภาพและรสชาติแบบเดียวกับเนื้อสัตว์ เพื่อให้ผู้บริโภคยังคงได้รับประสบการณ์ในการบริโภคอาหารเสมือนว่าได้รับประทานจากเนื้อสัตว์ มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และสามารถตอบโจทย์ผู้บริโภคที่หันมาให้ความใสใจกับสุขภาพได้เป็นอย่างดี
ในกระบวนการผลิตมีการใช้ “ถั่วหรั่ง” ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นที่ปลูกมากในพื้นที่จังหวัดสงขลา นราธิวาส ยะลา ปัตตานี และพัทลุง มาเป็นวัตถุดิบหลักในการพัฒนานวัตกรรมโปรตีนจากพืช ซึ่งถั่วหรั่งเป็นพืชที่มีโปรตีนสูง โดยมีส่วนประกอบของกรดอะมิโนชนิด “เมทไธโอนีน (Methionine)” สูง ซึ่งช่วยป้องกันการสะสมของไขมันและยังอุดมไปด้วยเส้นใย
2. อาหารจากการเพาะเลี้ยงเซลล์ (Cell-based Food/ Cultured Meat)

ถือว่าเป็นอาหารแห่งอนาคตที่อยู่ในกระแสเมกะเทรนด์ ด้วยปัจจัยบวกหลายด้าน อาทิ ลดการฆ่าสัตว์ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลดการปนเปื้อนจากเชื้อโรค และยังสามารถเพิ่มคุณค่าสารอาหารได้ในกระบวนการผลิต อีกทั้งยังมีประเภทของเนื้อที่หลากหลาย อาทิ เนื้อวัว ไก่ สุกร แกะ แพะ และปลา เป็นทางเลือกให้ผู้บริโภค ทำให้กระแสนิยมอาหารจากการเพาะเลี้ยงเซลล์ได้รับความนิยมมากขึ้น ปัจจุบันเนื้อเทียมที่มีขายโดยทั่วไป มักมีการทำมาจาก Plant Based Protein เสียส่วนใหญ่ เช่น ถั่วชนิดต่าง ๆ ข้าวสาลี ธัญพืช การเข้ามาของ Cultured Meat จึงถือเป็นอีกจุดเปลี่ยนที่สำคัญ และยังมีไม่กี่ประเทศที่ออกกฎหมายเรื่องการขายเนื้อเทียมประเภทสังเคราะห์จากห้องแล็บสู่ภาคประชาชนอย่างจริงจัง

Allied Market Research ประเมินมูลค่าตลาดอาหารจากการเพาะเลี้ยงเซลล์โลกในปี 2564 ไว้ที่ 1.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และในอนาคต Allied Market Research คาดว่าตลาดอาหารเพาะเลี้ยงเซลล์จะมีมูลค่าถึง 2,788.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2573 หรือมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย (Cumulative Annual Growth Rate: CAGR) 128.5 % ต่อปี โดยมีผู้ประกอบการหรือผู้ลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารเพาะเลี้ยงเซลล์ อาทิ บริษัท Aleph Farms บริษัท Cubiq Foods  บริษัท Future Meat Technologies บริษัท Meatable บริษัท Memphis Meats บริษัท Mission Barns บริษัท Mosa Meat บริษัท Redefine Meat และ บริษัท Vow Group

การพัฒนา Cultured Meat ในประเทศไทย ปัจจุบันบริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศูนย์ Veterinary Stem Cell and Bioengineering Innovation Center (VSCBIC) คณะสัตวแพทยศาสตร์ เพื่อพัฒนาเนื้อหมูรูปแบบ Cultured Meat แต่ยังอยู่ระหว่างการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้ได้เนื้อหมูที่มีรสสัมผัส คุณค่าทางอาหาร และต้นทุนที่ใกล้เคียงกับอุตสาหกรรมการผลิตในปัจจุบัน รวมทั้งสามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้

นอกจากนี้ ภายใต้เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้จัดให้มีศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One-Stop Service) เพื่อให้บริการแบบครบวงจรด้านการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมด้านอาหาร โดยมุ้งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เอื้อต่อการทำกิจกรรมวิจัยและนวัตกรรม (Innovation Ecosystem) เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารให้เติบโตอย่างยั่งยืนและแข่งขันในระดับสากลได้ จึงเป็นโอกาสสำหรับผู้ประกอบการที่สนใจธุรกิจ Cultured Meat และต้องการต่อยอดการพัฒนาสู่การค้าเชิงพาณิชย์ต่อไป
3. อาหารทางการแพทย์ (Medical Food)

โครงสร้างประชากรที่มีความหลากหลายมากขึ้น ทำให้มีอิทธิพลต่อคุณภาพอาหารเป็นหลัก โดยเฉพาะจากความต้องการสารอาหารที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ ความหลากหลายของโครงสร้างประชากรในอนาคตไม่ได้จำกัดเพียงแค่อายุ (สังคมเด็ก วัยแรงงาน และผู้สูงอายุ) แต่ยังครอบคลุมถึงสังคม วัฒนธรรม ศาสนา รายได้ กรุ๊ปเลือด และโรคประจำตัว จึงทำให้ความต้องการของผู้บริโภคแตกต่างกัน ทำให้มีเมกะเทรนด์ด้านโภชนาการเฉพาะบุคคล (Personalized Nutrition) ซึ่งเป็นการออกแบบโภชนาการให้เหมาะสมกับร่างกายของแต่ละบุคคลโดยคำนึงจากการใช้ชีวิต สารอาหาร และสุขภาพ อย่างไรก็ตาม กระแสดังกล่าวเป็นกระบวนการสร้างหลักสูตรอาหาร (Nutrition program) ที่กระบวนการผลิตอาหารโดยทั่วไปจะไม่สามารถตอบโจทย์ได้ โดยเฉพาะสูตรอาหารสำหรับผู้ที่เผชิญภาวะทุพโภชนาการ ตลอดจนผู้มีความต้องการอาหารพิเศษ ไม่ว่าจะเป็นเด็กทารก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย หรือนักกีฬาที่ต้องได้รับสารอาหารเพิ่มเติมกว่าคนปกติ นำมาสู่อาหารแห่งอนาคต กลุ่มอาหารทางการแพทย์ (Medical Food) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยาหรืออาหารเสริม โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่ต้องการโภชนาการที่เหมาะสมกับตนเองหรือผู้ป่วยที่ต้องรักษาโรคเป็นการเฉพาะ อาทิ โรคเกี่ยวกับระบบเผาผลาญ โรคลำไส้แปรปรวน โรคอัลไซเมอร์ อาการแพ้แลคโตส อาการแพ้อาหารบางชนิด หรือผู้สูงอายุที่มีระบบย่อยอาหารและการดูดซึมอาหารเสื่อม ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้จะมีความต้องการประเภทอาหาร สารอาหาร และคุณสมบัติของอาหารในสัดส่วนที่แตกต่างจากผู้บริโภคทั่วไป

ปี 2564 Grand View Research คาดว่า ตลาดอาหารทางการแพทย์จะมีมูลค่า 18.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และจะเพิ่มเป็น 23.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2568 หรือมีอัตราการเติบโต (CAGR) เฉลี่ย 6.0 % ต่อปี โดยมีผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารทางการแพทย์ อาทิ Donane, Nestle, Abbott, Targeted Medical Pharma, Victus, Primus Pharmaceuticals, Fresenius Kabi AG, Meiji Holdings และ Mead Johnson & Company

ตัวอย่างนวัตกรรมทางด้านอาหารทางการแพทย์ (Medical Food) ที่สร้างจากงานวิจัยและองค์ความรู้ของคนไทย ได้แก่

  • ผลิตภัณฑ์ข้าวไทยเพื่อผู้ป่วยเบาหวาน เป็นอาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีสูตรและกระบวนการผลิตที่มีความเฉพาะ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารอาหารครบทุกชนิดในปริมาณที่เพียงพอต่อตามความต้องการทางโภชนาการของผู้ป่วยทีมวิจัยจากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า ได้ริเริ่มโครงการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน โดยใช้ข้าวเป็นวัตถุดิบหลักเพื่อทดแทนผลิตภัณฑ์นำเข้าจากต่างประเทศ โดยได้เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัยว่า เนื่องจากผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วย และมีความต้องการเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามจำนวนผู้ป่วย หรือแม้กระทั่งผู้ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดที่เพิ่มมากขึ้น ผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายในท้องตลาดส่วนใหญ่นำเข้ามาจากต่างประเทศและมีราคาแพง ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องบริโภคต้องแบกรับค่าใช้จ่ายสูง ที่ผ่านมาอาหารทางการแพทย์ที่เป็นผลิตภัณฑ์ทดแทนคาร์โบไฮเดรตส่วนใหญ่ จะใช้แป้งดัดแปลงจากข้าวโพด หรือมันสำปะหลัง รวมถึงใช้โปรตีนจากน้ำนม ยังไม่พบว่ามีการใช้ข้าวเป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์ดังกล่าว อีกทั้งเป็นความต้องการของผู้ป่วยคนไทยที่ชอบบริโภคข้าวมากกว่าอาหารทางการแพทย์ที่มีส่วนผสมของน้ำนม ข้อดีจากการใช้ข้าวไทยเป็นวัตถุดิบในการผลิต ก็คือ นอกจากจะช่วยลดต้นทุนการผลิตแล้ว ยังเป็นการทำให้ข้าวไทยมีมูลค่าเพิ่มขึ้น และช่วยให้เกษตรกรขายข้าวได้มากขึ้นอีกด้วย

ผลิตภัณฑ์ข้าวไทยเพื่อผู้ป่วยเบาหวานที่ทีมวิจัยคิดค้นขึ้นนี้ มีสูตรและกระบวนการผลิตที่มีความเฉพาะ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารอาหารครบทุกชนิดในปริมาณที่เพียงพอต่อตามความต้องการทางโภชนาการของผู้ป่วย โจทย์ที่น่าสนใจมีอยู่ว่าคาร์โบไฮเดรตที่มีอยู่ในผลิตภัณฑ์ จะต้องไม่ดูดซึมอย่างรวดเร็วหรือทำให้น้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ประกอบกับผลิตภัณฑ์ต้องมีลักษณะทางกายภาพที่เหมาะสมสำหรับการให้ทางสายให้อาหาร อีกทั้งยังมีการใช้โปรตีนผสมจากพืชที่มีชนิดและปริมาณของกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อการสร้างโปรตีนชนิดต่างๆ ในร่างกาย สำหรับผู้ป่วยบางรายที่มีการแพ้โปรตีนนม หรือไข่ จึงได้มีการคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตภายใต้แนวคิด “การแยกส่วนของข้าวออก แล้วเติมกลับเข้าในผลิตภัณฑ์เพื่อปรับปรุงให้ได้คุณลักษณะที่ต้องการ” หรือ “remove to improve” เพื่อให้สามารถนำข้าวไทยมาใช้เป็นส่วนประกอบหลักของผลิตภัณฑ์และผลิตเพื่อจำหน่ายได้ในระดับอุตสาหกรรม

  • ผลิตภัณฑ์ ONCE PRO เป็นอาหารทางการแพทย์ (Medical Food) ที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ เหมาะสำหรับผู้ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และผู้ที่ต้องการดูแลรักษาสุขภาพ ถูกพัฒนาขึ้นมาให้อยู่ในรูปแบบผงชง ประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และแร่ธาตุ รสชาติอร่อยสามารถใช้ทดแทนหรือเสริมร่วมกับอาหารมื้อหลัก สำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเพื่อให้มีภาวะโภชนาการที่ดีที่สำคัญผลิตภัณฑ์นี้ ได้รับการขึ้นทะเบียนในบัญชีนวัตกรรมไทยอีกด้วย เนื่องจากเป็นสินค้าที่พัฒนาขึ้นโดยทีมวิจัยในประเทศไทย จึงเป็นสูตรที่เหมาะกับคนไทย ซึ่งแตกต่างจากคู่แข่งที่นำเข้าผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศ

4. อาหาร Zero Waste Cooking

FMCG Gurus เผยว่า ผู้บริโภคทั่วโลก 74 % พยายามที่จะลดขยะอาหาร (Food Waste) และกว่า 74 % มีความห่วงใยต่อสภาพแวดล้อม เทรนด์ดังกล่าวสะท้อนถึงผู้บริโภคที่ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตมากขึ้น ประกอบกับกระแสอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เข้มข้นขึ้นในระยะหลัง ทำให้ผู้บริโภคทยอยหันมาบริโภคอาหารที่ตอบโจทย์เมกะเทรนด์ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือ “กรีนเมกะเทรนด์” (Green Megatrend) โดยเน้นการบริโภคที่ตอบโจทย์ความยั่งยืนทางธรรมชาติและการรับผิดชอบต่อสังคม เช่น บรรจุภัณฑ์อาหารที่สามารถรับประทานได้ อาหารที่ไม่ได้มาจากการทำลายธรรมชาติ อาหารที่ช่วยลดปริมาณขยะอาหาร

ตัวอย่างนวัตกรรมทางด้านอาหาร Zero Waste Cooking ที่สร้างจากงานวิจัยและองค์ความรู้ของคนไทย ได้แก่

  • ผลิตภัณฑ์ฟัวกราส์ตับห่านจากพืช เป็นนวัตกรรมซูเปอร์ฟู้ดทดแทนตับห่าน จากวัตถุดิบผลผลิตทางการเกษตรเหลือทิ้งของบ้านเราในรูปแบบ Zero Waste และ BCG โดยทำการคัดเลือกพืชที่มีโปรตีนใกล้กับเนื้อสัตว์จนได้เม็ดขนุน เนื่องจากเป็นของเหลือจากกระบวนการผลิตเนื้อขนุนอบแห้งทอดกรอบ และกากเมล็ดกัญชงจากอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องสำอาง นำมาทำฟัวกราส์ให้พลังงาน สารอาหาร และแร่ธาตุ อุดมด้วยโปรตีน กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่ดีต่อสุขภาพ โอเมก้า 6 และโอเมก้า 3 สารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ ปรับระบบภูมิคุ้มกัน ซ่อมแซมดีเอ็นเอ มีไฟเบอร์ที่เป็นอาหารพรีโบโอติกส์ของแบคทีเรียดีที่เป็นประโยชน์ต่อลำไส้ ช่วยในการปรับสมดุลของระบบย่อยอาหาร มีวิตามินบี 12 ที่หาได้ยากในพืชฟัวกราส์ตับห่าน เป็นอาหารโอชารสเลิศของฝรั่งเศสที่ได้รับความนิยมไปทั่วโลก เนื่องจากมีรสชาติอร่อยหอมกรุ่น นุ่มนวลแทบละลายได้เองในปาก ถือว่าเป็นอาหารสุดหรูราคาแพงอีกเมนูหนึ่ง แต่ก็มีไขมันมาก แคลอรี่และคอเรสเตอรอลสูง ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพถ้าบริโภคมากเกินไป อีกทั้งไม่มีส่วนที่เป็นเส้นใยไฟเบอร์ และยังมีความเสี่ยงที่จะมีการปนเปื้อนจากเชื้อโรคได้อีกด้วย เพราะการปรุงของฟัวกราส์ตับห่านจะใช้ความร้อนไม่สูง จึงไม่สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ทั่วถึง นอกจากนี้ ฟัวกราส์ตับห่านยังถูกแบนไม่ให้ผลิตและจำหน่ายแล้วในหลายประเทศ เนื่องจากมีการบังคับกรอกอาหารเลี้ยงตับพอกไขมันให้โตผิดปกติ ถือเป็นการทรมานสัตว์และขัดต่อหลักศาสนาในบางประเทศ

จากเหตุผลดังกล่าวทำให้ทีมวิจัยจากบริษัทอินทิกรัล-เทค จำกัด ได้เล็งเห็นถึงโอกาสของการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์เพื่อทดแทนตลาดโลก ด้วย “ฟัวกราส์ จากพืชซูเปอร์ฟู้ด” จากวัตถุดิบผลผลิตทางการเกษตรเหลือทิ้งของบ้านเราในรูปแบบ Zero Waste และ BCG โดยทำการคัดเลือกพืชที่มีโปรตีนใกล้กับเนื้อสัตว์จนได้เม็ดขนุน เนื่องจากเป็นวัสดุเหลือจากกระบวนการผลิต ส่วนกระบวนการผลิต “ฟัวกราส์ จากพืชซูเปอร์ฟู้ด” ใช้ Food Tech แปรรูปด้วยเทคโนโลยี Extrusion ทำการผสมและนวดให้เป็นเนื้อเดียวกัน เกิดความร้อนขณะที่วัตถุดิบและส่วนผสมเคลื่อนที่จะมีแรงอัดเพิ่มขึ้น ผ่านหน้าพิมพ์ได้ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีรูปร่างและเนื้อสัมผัสตามแบบที่กำหนดต้องการ และนำไปผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อแบบ Retort ที่เป็นเทคโนโลยียืดอายุอาหาร สามารถเก็บรักษาไว้ที่อุณภูมิปกติได้นานถึง 18 เดือน โดยไม่ต้องแช่แข็ง และไม่ต้องใส่วัตถุกันเสีย

นอกจากนี้ ทีมวิจัยได้ทำการสำรวจมูลค่าตลาดโลกในปี 2564 พบว่า ฟัวกราส์ตับห่าน มีมูลค่า 1,320 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และฟัวกราส์จากพืชในตลาดมังสวิรัติ วีแกน (Vegan) มีมูลค่า 26,830 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จึงถือเป็นโอกาสทองของฟัวกราส์จากพืชซูเปอร์ฟู้ด ที่มีรสชาติและเนื้อสัมผัสใกล้เคียงกับฟัวกราส์จากสัตว์ และผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารฮาลาล อีกทั้งมีคุณค่าทางโภชนาการที่ดีกว่า เสิร์ฟรับประทานได้แบบทอดและไม่ทอด ที่พร้อมจะผลิตออกสู่ตลาดโลก สามารถทำรายได้เข้าประเทศตามนโยบายส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรมของภาครัฐ

ย้อนอ่านตอนที่ 1

————————–

—————————-

เอกสารอ้างอิง

  1. Novel Food อาหารนวัตกรรมใหม่ โอกาสทองของเอสเอ็มอีไทย | SME One
  2. อุตสาหกรรมอาหารในอนาคต | Krungsri Research
  3. Functional Food’ นวัตกรรมอาหารแห่งอนาคต | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.). https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-itap-tcels-functional-food/
  4. Cultured Meat อีกทางเลือกความมั่นคงด้านอาหารในอนาคต | ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ PETROMAT จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://petromat.org/home/cultured-meat/
  5. ข้าวไทยใส่นวัตกรรม Medical Food เพื่อผู้ป่วยเบาหวาน | บมจ.ธนาคารกรุงเทพ. https://www.bangkokbanksme.com/en/rice-thai-medical-food-diabetes
  6. เป็นเบาหวาน อยากลดน้ำหนัก ต้องรีบทำความรู้จัก ISOMALTULOSE | Goodlife Update. https://goodlifeupdate.com/healthy-body/124008.html
  7. “ฟัวกราส์จากพืช” นวัตกรรมไทยตอบโจทย์สุขภาพ | กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/tech/innovation/1028830
  8. FMCG Gurus. Top Ten Trends 2021 Report. Retrieved from https://fmcggurus.com/top-10-trends-2021-report-sm-download/
  9. David Henkes, Emerson Climate Technologies. Food Industry Forecast: Key Trends Through 2020, Crucial Trends Transforming the Industry. Retrieved from https://climate.emerson.com/documents/dallas-%E2%80%93-food-industry-forecast-key-trends-through-2020-pt-br-3632778.pdf
  10. Future of Protein: Preparing for success in an uncertain environment. Retrieved from https://www2.deloitte.com /content/dam/Deloitte/ch/Documents/consumer-business/deloitte-ch-the-future-of-protein-Jan-2021.pdf
  11. Department of International Trade Promotion. Future Food Fact Sheet. Retrieved from https://ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php?filename=contents_attach/754468/754468.pdf&title=754468&cate=2514&d=0